วันพุธที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2564

ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของหมู่บ้าน

1. แผนที่หมู่บ้าน

2. ประวัติหมู่บ้าน

ที่มาของชื่อหมู่บ้านปาดังยอ  มาจากการตั้งชื่อของบุคคลที่อพยพเข้ามาอยู่ในหมู่บ้านในยุคแรกๆ ได้มาทำสวนมะพร้าวในทุ่งเป็นบริเวณกว้าง  ซึ่งสวน(สนาม) มะพร้าวหรือทุ่งมะพร้าว  มีความหมายว่า ปาดังยอ คำว่า ปาดังยอมีความหมายว่า สวน(สนาม) มะพร้าว”  หรือ ทุ่งมะพร้าว”  เพราะคำว่า ปาดัง”  มีความหมายว่า  สนามหรือทุ่ง  และคำว่า  ยอ”  มีความหมายว่า  มะพร้าว

          เดิมเนื้อที่บริเวณนี้เป็นป่าละเมาะ  และที่บางส่วนเป็นทุ่งนาซึ่งอยูในที่ราบลุ่มในเวลาต่อมาได้มีชาวบ้านอพยพจากที่อื่นเข้ามาอยู่ในพื้นที่  และได้ปลูกต้นมะพร้าวเป็นบริเวณกว้าง  หลักจากนั้นก็ได้ตั้งชื่อหมู่บ้านเป็นหมู่บ้านปาดังยอ 

 

3. พื้นที่ทั้งหมด

          - มีเนื้อที่ประมาณ  ๖.๖๔  ตารางกิโลเมตร  หรือ 2,747  ไร่  คิดเป็นร้อยละ  20.29  ของพื้นที่ทั้งหมด  13,538  ไร่ ของตำบลมูโนะ 

 

4.  อาณาเขต

          บ้านปาดังยอ  ตั้งอยู่ในตำบลมูโนะ  อำเภอสุไหงโก-ลก  จังหวัดนราธิวาส  ห่างจากอำเภอสุไหงโก-ลก                     ระยะทาง  ๑๕ กิโลเมตร    ห่างจากจังหวัดนราธิวาส   ๕๕ กิโลเมตร     

          มีอาณาเขตติดต่อ ดังนี้

                   ทิศเหนือ          ติดต่อกับ         หมู่ที่ ๑ บ้านมูโนะ

                   ทิศใต้             ติดต่อกับ         บ้านแฆแบะ ตำบลนานาค  อำเภอตากใบ

                   ทิศตะวันตก      ติดต่อกับ         แม่น้ำสุไหงโก-ลก

                   ทิศตะวันออก     ติดต่อกับ         หมู่ที่ ๒ บ้านลูโบ๊ะลือซง และหมู่ที่ ๔ บ้านปูโป๊ะ

5. ลักษณะภูมิประเทศและลักษณะภูมิอากาศ

          -ลักษณะภูมิประเทศ

บ้านปาดังยอ  หมู่ที่  3  ตำบลมูโนะ  อำเภอสุไหงโก-ลก  จังหวัดนราธิวาส  อยู่ห่างจากตัวอำเภอสุไหงโก-ลก  ประมาณ 15  กิโลเมตร  สภาพพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ราบลุ่ม  และมีพื้นที่ติดกับประเทศมาเลเซีย  โดยมีแม่น้ำโก-ลก เป็นแนวเขตพรมแดน

-ลักษณะภูมิอากาศ

ภูมิอากาศ มี ๒ ฤดู คือ ฤดูฝน และฤดูร้อน - ฤดูฝน มี ๒ ระยะ คือระยะรับลมมรสุมตะวันออกเฉียงได้ ในระหว่างเดือนพฤษภาคม ถึงเดือนตุลาคมเป็นช่วงเกิดภาวะฝนฟ้าคะนอง และระยะรับลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ ฝนจะตกชุกใน เดือนพฤศจิกายนถึงเดือนมกราคม เป็นช่วงที่ทำให้เกิดภาวะน้ำท่วม ในพื้นที่ราบและราบลุ่มเป็นประจำทุกปี - ฤดูร้อน อยู่ระหว่าง เดือนกุมภาพันธ์

ข้อมูลพื้นฐานด้านสังคม

- จำนวนประชากร   รวมทั้งสิ้น     ๒,๐๗๕  คน       แยกเป็น  ชาย  ๙๖๙  คน  หญิง  ๑,๑๐๖  คน

           6.1  ผู้สูงอายุ  (อายุ 60 ปี บริบูรณ์ขึ้นไป )  รวมทั้งสิ้น  ๑๔๖  คน แยกเป็น ชาย  ๕๗   คน หญิง  ๘๙   คน

           6.2  คนพิการ                                   รวมทั้งสิ้น  ๖๒  คน  แยกเป็น  ชาย  ๒๐   คน หญิง  ๔๒ คน

- ช่วงอายุประชากรในพื้นที่

หมู่ที่

ช่วงอายุ

ศาสนาพุทธ

 

ศาสนาอิสลาม

 

หมายเหตุ

 

 

 

ชาย (คน)

หญิง (คน)

ชาย (คน)

หญิง (คน)

 

 

3

0 - 5  ปี

-

-

52

75

 

 

 

6 - 18 ปี

-

-

143

184

 

 

 

19 - 24 ปี

-

-

99

114

 

 

 

25 - 60 ปี

-

-

507

558

 

 

 

61 - 80 ปี

-

-

102

111

 

 

 

81 - 90 ปี

-

-

3

7

 

 

 

91 ปีขึ้นไป

-

-

-

-

 

 

รวม

 

-

-

906

1049

 

 

- จำนวนครัวเรือน        ๓๔๔        ครัวเรือน

- การประกอบอาชีพ

                   - อาชีพหลักของครัวเรือน

           1. อาชีพเกษตรกรรม ( ทำไร่ / ทำนา / ทำสวน / เลี้ยงสัตว์ )  จำนวน  ๒๐๘  ครัวเรือน

           2. อาชีพค้าขาย จำนวน      ๑๖     ครัวเรือน

                      3. อาชีพ ทำงานประจำ / รับราชการ จำนวน    ๒๐   ครัวเรือน

                      4. อาชีพทำงานประจำเอกชน / บริษัท / โรงงาน จำนวน   ๖  ครัวเรือน

                      5. อาชีพรับจ้างทั่วไป  จำนวน ๖๒  ครัวเรือน

                   - อาชีพเสริมหรืออาชีพรอง

           1. อาชีพทำขนมและเบเกอรี่           จำนวน  ๑๕  ครัวเรือน

                      2. อาชีพปักจักร และตัดเย็บเสื้อผ้า   จำนวน  ๑๗  ครัวเรือน


   - ผู้ว่างงาน  จำนวน ๑๒ คน   แยกเป็น

                     1. กลุ่มอายุ  13 18  ปี           จำนวน     ๒    คน

2. กลุ่มอายุ  19   24  ปี          จำนวน     ๒    คน

3. กลุ่มอายุ  25  ปี ขึ้นไป          จำนวน     ๘    คน


  - รายได้เฉลี่ยของประชากร  (ตามเกณฑ์  จปฐ.  ปี พ.ศ.๒๕๖๒)      จำนวน   ๔๙,๔๕๓.๘๑   บาท/คน/ปี ครัวเรือนยากจน  (รายได้ไม่ถึง 30,000 บาท คน/ปี) ปี  พ.ศ…๒๕๖๒  จำนวน    ๒   ครัวเรือน


- จำนวนกลุ่มกิจกรรม / อาชีพ     มีจำนวน  ๒ กลุ่ม   ดังนี้

1. กลุ่มแม่บ้าน (ทำขนม)  จำนวน    ๑๕   คน

                      2.  กลุ่มปลูกผักสวนครัว   จำนวน    ๑๔   คน 

- กองทุนในหมู่บ้าน   มีจำนวน  ๓  กองทุน  ดังนี้

                   1.   ชื่อกองทุนหมู่บ้าน  หมู่ที่  ๓  บ้านปาดังยอ        มีงบประมาณ   ๒๕๐,๐๐๐  บาท

                   2.   ชื่อกองทุนแม่ของแผ่นดิน                          มีงบประมาณ      ๘,๐๐๐   บาท

                   3.  ชื่อกองทุนออมทรัพย์เพื่อการแปรรูป               มีงบประมาณ     ๒๑,๐๐๐  บาท

 ข้อมูลคมนาคม/สาธารณูปโภค

1 การเดินทางเข้าหมู่บ้าน 

          จากอำเภอสุไหงโก-ลก ใช้ทางหลวง จากถนนเอเชีย ๑๘ สายสุไหงโก-ลก ตากใบ  ระยะทาง ๑๕ กิโลเมตร         แยกขวาเข้าทางถนน ม.๑ บ้านมูโนะ  ตำบลมูโนะ อำเภอสุไหงโก-ลก

2  สาธารณูปโภค

การไฟฟ้า                  ไฟฟ้าใช้ในครัวเรือน       มีใช้ทุกครัวเรือน

                                                ไฟฟ้าสาธารณะ            มี  106  ดวง

                   ถนน                        ซอยกูแบกือแย-โคกกลาง  ระยะทาง  1.5  กิโลเมตร (คอนกรีต+ลูกรัง)

                                                บาโงจีนอ-กูแบกือแย      ระยะทาง  1.4  กิโลเมตร  (คอนกรีต)

                                                บาโงปูโปะ-ปูโปะ ระยะทาง  1.5  กิโลเมตร  (คอนกรีต)

                                                ซอยกูโบร์-ซอยรอปาอุทิศ  ระยะทาง 300  เมตร  (คอนกรีต)

                   การโทรคมนาคม โทรศัพท์สาธารณะ  ไม่มี

                   ประปาหมู่บ้าน            ปาดังยอ  (เสีย ใช้การไม่ได้)       

                   ศาลาประชาคม            จำนวน ๒ แห่ง (ที่ทำการผู้ใหญ่บ้าน,มัสยิดอะเราะเฮม)

3   แหล่งน้ำ

                      แม่น้ำ                      แม่น้ำสายสุไหงโก-ลก

                      บึง                          บึงรามิงส์                                     

บ่อบาดาล                  โรงงานกรองน้ำหมู่บ้านตั้งอยู่ชุมชนตาดีกา

ข้อมูลพื้นฐานด้านการศึกษาและสถานศึกษาในหมู่บ้าน 

           1. โรงเรียนในสังกัดสำนักงานการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.)

           (๑)ชื่อโรงเรียนปาดังยอ  ที่ตั้ง  ม.3 บ้านปาดังยอ  ตำบลมูโนะ อำเภอสุไหงโก-ลก จังหวัดนราธิวาส

                   (1.1) ชาวไทยพุทธศึกษาอยู่                  จำนวน      -     ราย

                   (1.2) ชาวไทยมุสลิมศึกษาอยู่                จำนวน    136   ราย

                   (1.3) ครูผู้สอนที่เป็นไทยพุทธ                จำนวน       2   ราย

                   (1.4) ครูผู้สอนที่เป็นไทยมุสลิม              จำนวน       7   ราย

                   (1.5) ครูผู้สอนมีวิทยฐานะ                   จำนวน       7   ราย

                             (1) ปฏิบัติการ                       จำนวน       1   ราย

                             (2) ชำนาญการ                     จำนวน       3   ราย

                             (3) ชำนาญการพิเศษ               จำนวน       3   ราย

. โรงเรียนในสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

          (1) ชื่อโรงเรียน  ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านปาดังยอ

           ที่ตั้ง ม.3 บ้านปาดังยอ  ตำบลมูโนะ อำเภอสุไหงโก-ลก จังหวัดนราธิวาส

                   (1.1) ชาวไทยพุทธศึกษาอยู่        จำนวน       -    ราย

                   (1.2) ชาวไทยมุสลิมศึกษาอยู่       จำนวน      65  ราย

                   (1.3) ครูผู้สอนที่เป็นไทยพุทธ      จำนวน      -    ราย

                   (1.4) ครูผู้สอนที่เป็นไทยมุสลิม     จำนวน      4    ราย

                   (1.5) ครูผู้สอนมีวิทยฐานะ         จำนวน     -     ราย

                            

๓. ศูนย์การศึกษาอิสลามประจำมัสยิด (ตาดีกา)

        () ชื่อโรงเรียนตาดีกาบ้านปาดังยอ 

              ที่ตั้ง ม.3 บ้านปาดังยอ  ตำบลมูโนะ อำเภอสุไหงโก-ลก จังหวัดนราธิวาส

              นักเรียนชาย    47    ราย     นักเรียนหญิง     60       ราย รวม   107   ราย

        (๒) ชื่อโรงเรียนตาดีกาบ้านบรือมง  

             ที่ตั้ง ม.3 บ้านปาดังยอ  ตำบลมูโนะ อำเภอสุไหงโก-ลก จังหวัดนราธิวาส

             นักเรียนชาย   15    ราย       นักเรียนหญิง     20      ราย   รวม     45       ราย

งานประเพณีประจำหมู่บ้าน

          1) ชื่องาน อาซูรอ

          2) ชื่องาน เมาลิดสัมพันธ์

          3) ชื่องาน อิดิลฟิตรี,อิดิลอัฎฮา

          4) ชื่องาน สุนัต

          5) ชื่องาน กีฬาบึงรามิงส์          

6. ข้อมูลพื้นฐานของหมู่บ้านตาม จปฐ. และ กชช.2ค.

สรุปผลการจัดเก็บข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน ปี 2562 ระดับหมู่บ้าน    

หมู่ที่ 3 บ้านปาดังยอ ตำบลมูโนะ อำเภอสุไหงโก-ลก จังหวัดนราธิวาส ภาคใต้  ประเทศไทย

ตัวชี้วัด ข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน

จำนวนที่สำรวจทั้งหมด

ผ่านเกณฑ์

ไม่ผ่านเกณฑ์

จำนวน

ร้อยละ

จำนวน

ร้อยละ

หมวดที่ 1 สุขภาพ มี 7 ตัวชี้วัด

1. เด็กแรกเกิดมีน้ำหนัก 2,500 กรัม ขึ้นไป

คน

0 คน

0.00

0 คน

0.00

2. เด็กแรกเกิดได้กินนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย 6 เดือนแรกติดต่อกัน

คน

0 คน

0.00

0 คน

0.00

3. เด็กแรกเกิดถึง 12 ปี ได้รับวัคซีนป้องกันโรคครบตามตารางสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค

73  คน

73 คน

100.00

0 คน

0.00

4. ครัวเรือนกินอาหารถูกสุขลักษณะ ปลอดภัย และได้มาตรฐาน

324  คร.

324 คร.

100.00

0 คร.

0.00

5. ครัวเรือนมีการใช้ยาเพื่อบำบัด บรรเทาอาการเจ็บป่วยเบื้องต้นอย่างเหมาะสม

324  คร.

324 คร.

100.00

0 คร.

0.00

6. คนอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจสุขภาพประจำปี

506  คน

506 คน

100.00

0 คน

0.00

7. คนอายุ 6 ปีขึ้นไป ออกกำลังกายอย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 วัน ๆ ละ 30 นาที

759  คน

758 คน

99.87

1 คน

0.13

หมวดที่ 2 สภาพแวดล้อม มี 7 ตัวชี้วัด

8. ครัวเรือนมีความมั่นคงในที่อยู่อาศัย และบ้านมีสภาพคงทนถาวร

324  คร.

324 คร.

100.00

0 คร.

0.00

9. ครัวเรือนมีน้ำสะอาดสำหรับดื่มและบริโภคเพียงพอตลอดปีอย่างน้อยคนละ 5 ลิตรต่อวัน

324  คร.

324 คร.

100.00

0 คร.

0.00

10. ครัวเรือนมีน้ำใช้เพียงพอตลอดปี อย่างน้อยคนละ 45 ลิตรต่อวัน

324  คร.

324 คร.

100.00

0 คร.

0.00

11. ครัวเรือนมีการจัดบ้านเรือนเป็นระเบียบเรียบร้อย สะอาดและถูกสุขลักษณะ

324  คร.

324 คร.

100.00

0 คร.

0.00

12. ครัวเรือนไม่ถูกรบกวนจากมลพิษ

324  คร.

324 คร.

100.00

0 คร.

0.00

13. ครัวเรือนมีการป้องกันอุบัติภัยและภัยธรรมชาติอย่างถูกวิธี

324  คร.

324 คร.

100.00

0 คร.

0.00

14. ครัวเรือนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน

324  คร.

324 คร.

100.00

0 คร.

0.00

หมวดที่ 3 การศึกษา มี 5 ตัวชี้วัด

15. เด็กอายุ 3 - 5 ปี ได้รับบริการเลี้ยงดูเตรียมความพร้อมก่อนวัยเรียน

15  คน

15 คน

100.00

0 คน

0.00

16. เด็กอายุ 6 -14 ปี ได้รับการศึกษาภาคบังคับ 9 ปี

78  คน

76 คน

97.44

2 คน

2.56

17. เด็กจบชั้น ม.3 ได้เรียนต่อชั้น ม.4 หรือเทียบเท่า

10  คน

10 คน

100.00

0 คน

0.00

18. คนในครัวเรือนที่จบการศึกษาภาคบังคับ 9 ปี ที่ไม่ได้เรียนต่อและยังไม่มีงานทำ ได้รับการฝึกอบรมด้านอาชีพ

คน

0 คน

0.00

0 คน

0.00

19. คนอายุ 15 - 59 ปี อ่าน เขียนภาษาไทย และคิดเลขอย่างง่ายได้

518  คน

518 คน

100.00

0 คน

0.00

หมวดที่ 4 การมีงานทำและรายได้

มี 4 ตัวชี้วัด

 

20. คนอายุ 15 – 59 ปี มีอาชีพและรายได้

466  คน

466 คน

100.00

0 คน

0.00

21. คนอายุ 60 ปีขึ้นไป มีอาชีพและรายได้

162  คน

160 คน

98.77

2 คน

1.23

22. รายได้เฉลี่ยของคนในครัวเรือนต่อปี

324  คร.

322 คร.

99.38

2 คร.

0.62

23. ครัวเรือนมีการเก็บออมเงิน

324  คร.

324 คร.

100.00

0 คร.

0.00

หมวดที่ 5 ค่านิยม มี 8 ตัวชี้วัด

24. คนในครัวเรือนไม่ดื่มสุรา

774  คน

774 คน

100.00

0 คน

0.00

25. คนในครัวเรือนไม่สูบบุหรี่

774  คน

694 คน

89.66

80 คน

10.34

26. คนอายุ 6 ปีขึ้นไป ปฏิบัติกิจกรรมทางศาสนาอย่างน้อยสัปดาห์ละ 1 ครั้ง

759  คน

759 คน

100.00

0 คน

0.00

27. ผู้สูงอายุ ได้รับการดูแลจากครอบครัว ชุมชน ภาครัฐหรือภาคเอกชน

163  คน

163 คน

100.00

0 คน

0.00

28. ผู้พิการ ได้รับการดูแลจากครอบครัว ชุมชน ภาครัฐหรือภาคเอกชน

คน

8 คน

100.00

0 คน

0.00

29. ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ได้รับการดูแลจากครอบครัว ชุมชน ภาครัฐหรือภาคเอกชน

17  คน

17 คน

100.00

0 คน

0.00

30. ครัวเรือนมีส่วนร่วมทำกิจกรรมสาธารณะเพื่อประโยชน์ของชุมชน หรือท้องถิ่น

324  คร.

324 คร.

100.00

0 คร.

0.00

31. ครอบครัวมีความอบอุ่น

324  คร.

324 คร.

100.00

0 คร.

0.00

 
 สรุปผลสภาพปัญหาของหมู่บ้าน กชช. 2ค. ปี 2562

หมู่ที่บ้านปาดังยอ ตำบลมูโนะ อำเภอสุไหงโก-ลก   จังหวัดนราธิวาส 

ตัวชี้วัด

คะแนน

โครงสร้างพื้นฐาน

(1) ถนน

1

(2) น้ำดื่ม

1

(3) น้ำใช้

3

(4) น้ำเพื่อการเกษตร

2

(5) ไฟฟ้า

3

(6) การมีที่ดินทำกิน

(7) การติดต่อสื่อสาร

3

สภาพพื้นฐานฐานทางเศรษฐกิจ

1

(8) การมีงานทำ

1

(9) การทำงานในสถานประกอบการ

0

(10) ผลผลิตจากการทำนา

1

(11) ผลผลิตจากการทำไร่

(12) ผลผลิตจากการทำการเกษตรอื่นๆ

2

(13) การประกอบอุตสาหกรรมในครัวเรือน

2

(14) การได้รับประโยชน์จากการมีสถานที่ท่องเที่ยว

1

ด้านสุขภาวะและอนามัย

1

(15) ความปลอดภัยในการทำงาน

1

(16) การป้องกันโรคติดต่อ

3

(17) การกีฬา

2

ด้านความรู้และการศึกษา

3

(18) ระดับการศึกษาของประชาชน

(19) อัตราการเรียนต่อของประชาชน

3

(20) การได้รับการศึกษา

1

ด้านการมีส่วนร่วมและความเข้มแข็งของชุมชน

1

(21) การมีส่วนร่วมของชุมชน

0

(22) การรวมกลุ่มของชุมชน

1

(23) การเข้าถึงแหล่งเงินทุน

(24) การเรียนรู้โดยชุมชน

2

(25) การได้รับความคุ้มครองทางสังคม

2

ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

1

(26) คุณภาพดิน

1

(27) การใช้ประโยชน์ที่ดิน

1

(28) คุณภาพน้ำ

3

(29) การปลูกป่าหรือไม้ยืนต้น

2

(30) การจัดการสภาพสิ่งแวดล้อม

3

ด้านความเสี่ยงของชุมชนและภัยพิบัติ

(31) ความปลอดภัยจากยาเสพติด

3

(32) ความปลอดภัยจากภัยพิบัติ

1

(33) ความปลอดภัยจากความเสี่ยงในชุมชน

1

        สรุปสภาพปัญหาของหมู่บ้าน                                                   

       (1) มีปัญหามาก          8    ข้อ  

       (2) มีปัญหาปานกลาง  6     ข้อ

       (3) มีปัญหาน้อย        13    ข้อ

                      

       หมู่บ้าน/ชุมชนนี้ จัดเป็น หมู่บ้าน/ชุมชนเร่งรัดพัฒนาอันดับ

             

       (อันดับ 1 ได้ 1 คะแนน 11-33 ตัวชี้วัด)                                      

       (อันดับ 2 ได้ 1 คะแนน 6-10 ตัวชี้วัด)                                        

        (อันดับ 3 ได้ 1 คะแนน 0-5 ตัวชี้วัด)

 

ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของหมู่บ้าน

1. แผนที่หมู่บ้าน 2. ประวัติหมู่บ้าน “ ที่มาของชื่อหมู่บ้านปาดังยอ  มาจากการตั้งชื่อของบุคคลที่อพยพเข้ามาอยู่ในหมู่บ้านในยุคแรกๆ ได้มาทำส...